การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัญหาในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของพื้นที่พื้นที่ตาบลห้วยมุ่น 2) ศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ตาบลห้วยมุ่น และ 3) ศึกษารูปแบบและข้อเสนอแนะ เชิงนโยบายในจัดการขยะมูลฝอยที่เหมาะสมกับชุมชน พื้นที่ตาบลห้วยมุ่น อาเภอน้าปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ การดาเนินการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมก็คือเชิงปริมาณและ เชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างคือประชาชนในเขตตาบลห้วยมุ่นจานวน 400 ครัวเรือน สาหรับแนวทางและรูปแบบการจัดการขยะโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ผู้ให้ข้อมูลสาคัญคือกลุ่มผู้นาชุมชนผลการวิจัยพบว่า
1. การศึกษาปัญหาในจัดการขยะในพื้นที่ตาบลห้วยมุ่น พบว่า ขยะในพื้นที่ ส่วนใหญ่เป็นขยะอินทรีย์จาพวกหัวสับปะรดที่เน่าเสียและเศษที่ตัดทิ้งจากหัวสับปะรด นอกจากนี้ยังพบขยะจาพวกขยะอันตราย ขวดสารเคมีกาจัดศัตรูพืช ขวดยาฆ่าแมลง ถุงปุ๋ยเคมี ซึ่งชาวบ้านในพื้นที่จะใช้ในการทาการเกษตร และมีการกองทิ้งในขยะจาพวกอินทรีย์ การฝังกลบขยะอันตราย รวมถึงการทิ้งในถังรวมโดยไม่แยกประเภทขยะ
2. กระบวนการมีส่วนร่วม พบว่า ประชาชนยังมีส่วนร่วมไม่มากเท่าที่ควร ไม่ว่าจะเป็นกระบวนการของการวางแผน การดาเนินการ การร่วมรับผลประโยชน์ และร่วมประเมินผลจากการจัดการขยะขององค์การบริหารส่วนตาบล รวมถึงการขาดการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบรายได้จากการจัดเก็บค่าธรรมเนียม ซึ่งองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยมุ่นควรเปิดเผยข้อมูลด้านรายได้จากการจัดเก็บให้ประชาชนได้รับทราบ
3. รูปแบบและข้อเสนอแนะในการจัดการขยะที่เหมาะสมกับพื้นที่ตาบลห้วยมุ่น พบว่า ควรลดปริมาณขยะจากแหล่งกาเนิดขยะที่มาจากบ้านเรือนโดยการรณรงค์ ให้ความรู้ และประชาสัมพันธ์ ให้มีการคัดแยกขยะก่อนนามาทิ้งลงถังขยะของ อบต. ซึ่งเป็นการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม นอกจากนี้องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยมุ่นควรเป็นหน่วยงานหลักในการจัดตั้งหรือสนับสนุนการเกิดธนาคารขยะ เพื่อให้การคัดแยกขยะมีแหล่งรับซื้อที่สามารถสร้างรายได้ให้กับประชาชน และหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องควรเข้าไปดูแล ให้ความรู้ รวมถึงจัดหาระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการกาจัดขยะให้กับพื้นที่สูง เพื่อไม่ให้ปัญหาขยะส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมต่อไป และหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องควรเข้าไปดูแล ให้ความรู้ รวมถึงจัดหาระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการกาจัดขยะให้กับพื้นที่สูง เพื่อไม่ให้ปัญหาขยะส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมต่อไป
processed by the contribution of people living in the community has been collected its data by having conversations with the focus group. ‘Community Leader’ group is the most important group to give information According to the research result, it was found that :
1. The study of the condition of waste management in the households shows that most of the waste in the area is organic waste such as bad pineapple heads, and pieces of pineapple. Moreover, there are dangerous waste such as bottles of chemicals, pesticide chemical bottles, insecticide bottles, chemical fertilizer bags. And there is a dump in organic waste Hazardous waste landfill including disposing into the bin without classifying the waste
2. Participation process, it was found that people still contribute less in terms of planning process, implementation, benefit taking, and evaluation of waste management provided by the Sub-district Administrative Organization, including the missing of their contribution in income checking from fee collection. As a result, Huai Mun Sub-district Administrative Organization should show such income data in fee collection for people to acknowledge.
3. For having patterns and suggestions of waste management suitable for Huai Mun Sub-district can be described that waste from households should be reduced by giving knowledge and conducting PR in classifying their waste before throwing it away. This can be done by the contribution of people living in the community. Also, Huai Mun Sub-district Administrative Organization is the main organization in promoting the ‘Waste Bank’ for classifying waste and having waste to be sold for people to earn some extra money. as well as give knowledge to people and set up modern technological system in waste management for higher area. This can prevent how waste could affect natural environment in the future.