การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง (The Learning Achievement of Public Administration Students at Faculty of Humanities and Social Sciences, Muban Chombueng Rajabhat University)

วชิรวัชร งามละม่อม

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ (1) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฯ และ (2) เพื่อ
ศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฯ ประชากรและกลุ่ม
ตัวอย่าง คือ นักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ จานวน 208 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง
แบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบเลือกตอบ และนาข้อมูลทั้งหมด
ไปวิเคราะห์ทางสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (X ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่า
t-test และค่า F-test ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยรวมอยู่
ในระดับมาก ( X = 3.70, S.D. = .511) หากเรียงลาดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย
ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านคุณภาพทางการเรียนการสอนมีค่าสูงที่สุด (X = 3.78,
S.D. = .613) รองลงมาด้านคุณลักษณะทางจิตใจ ( X = 3.70, S.D. = .572) และด้าน
พฤติกรรมด้านความรู้และความคิดมีค่าต่าที่สุด ( X = 3.62, S.D. = .524) ตามลาดับ และ
(2) กลุ่มตัวอย่างด้านเพศ ระดับชั้นปี รายจ่ายที่เกิดขึ้นระหว่างเรียนต่อเดือน อาชีพของ
ผู้ปกครอง และลักษณะที่อยู่อาศัย มีความเห็นว่าปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกันมีผลต่อ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่แตกต่างกัน นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างด้านเกรดเฉลี่ย รายรับที่
ได้รับจากผู้ปกครอง/การทางานเสริมนอกเวลาต่อเดือน ฐานะทางบ้านของนักศึกษา
จานวนพี่น้อง สถานะภาพของผู้ปกครอง และการเดินทางมามหาวิทยาลัยมีความเห็นว่า
ปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกันไม่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่แตกต่างกัน

คำสำคัญ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, นักศึกษา, รัฐประศาสนศาสตร์



Abstract

The objectives of this research were (1) to investigate learning
achievement of the students. and (2) to compare individual factors which effect
on a learning achievement of students. A sample of this study was 208 students
who study in a program of public administration. The samples of the study were
selected by using simple random. Moreover, a tool of the study was a checklist
and used a statistical analysis, such as a frequency, an average ( X ), standard
deviation (S.D.), T-test and F-test. The research finding were as follows: (1) the
overall average of learning achievement of public administration students at
Muban Chombueng University was at good level ( X = 3.70, S.D. = .511). If
ranked in order of average from highest to lowest the aspect with the highest
mean was the quality of teaching and learning with the highest values ( X =
3.78, S.D. = .613). Followed by mental characteristics ( X = 3.70, S.D. = .572).
and behaviors, knowledge, and ideas were the lowest ( X = 3.62, S.D. =
.524), respectively, and (2) a general information of students (e.g. gender,
year level, a used budget per a month, an occupation of parents and an
appearance of house) effects on a different learning achievement. Furthermore,
a group of samples associated with an average GPA, an income of parents/ a
wage from a part-time job, a financial status of parents, a number of siblings, a
status of parents and a transportation showed that individual factors do not
signify on a different learning achievement.

Keywords Learning Achievement, Students, Public Administration



ไฟล์บทความ (.pdf)

show file